วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

คำสั่งอื่นๆ

1.Atตั้งเวลารันกลุ่มคำสั่ง
2.Cpio
3.bc - คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ Unix,Linux
4.basename-
5. last - ใช้แสดงรายชื่อผู้ login เข้ามาล่าสุด
6.crontab - ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ crontabตั้งเวลารันคำสั่งเป็นรอบเวลาที่กำหนด
7.dd - ลบบรรทัดปัจจุบันทั้งบรรทัด
8.du - แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด duเป็นการดูเนื้อที่ว่างบนไดเรคทรอรี่ที่ใช้อยู่
9. dirname-
10.ln-
11.env - แสดงค่า environment ปัจจุบัน
12. eject
13.-exec-
14.free - แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ
14.freeเป็นการแสดงสถานะของเมมโมรี่ และเนื้อที่ว่างบนเมมโมรี่ ทั้งกายภาพ ที่ใช้ ใน swap, และบัฟเฟอร์ 15.groups-
16.hostnameแสดง/กำหนดชื่อโฮสต์16.hostname - คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่
17.lp-
18.mount - เป็นคำสั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับระบบ
19.mt-
20.nice-
21.nohup-
22.netstat - แสดงสถานะของเครือข่ายว่ามีโปรแกรมใดเปิดให้บริการ
23.Od
24.Pr
25.df - เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์
26.Printf
27.Df
25.
Dfรายงานขนาดดิสก์ที่เหลืออยู่
28.Printenv
29.Pg
30.Quota
31.Rlogin

คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร

1.คำสั่ง telnetเป็นคำสั่งที่เปลี่ยน host ที่ใช้อยู่ไปยัง host อื่น (ใน Windows 98 ก็มี)รูปแบบ $ telnet hostnameเช่น c:\> telnet comsci.rid.ac.th เปลี่ยนไปใช้ host ชื่อ comsci.rid.ac.th $ telnet 202.28.54.182 เปลี่ยนไปใช้ host ที่มี IP = 202.28.54.182$ telnet 0 telnet เข้า host ที่ใช้อยู่นะขณะนั้นเมื่อเข้าไปได้แล้วก็จะต้องใส่ login และ password และเข้าสู่ระบบยูนิกส์นั้นเอง
2.คำสั่ง ftpftp เป็นคำสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็น ftp นั้นจะต้องมี user name และมี password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว แต่ก็มี ftp host ที่เป็น public อยู่ไม่น้อยเช่นกัน ดังนั้นจะมี user name ที่เป็น publicเช่นกัน คือ user ที่ชื่อว่า anonymous ส่วน password ของ user anonymous นี้จะใช้เป็น E-mail ของผู้ที่จะ connect เข้าไปและโปรแกรมส่วนใหญ่ก็จะอยู่ใน directory ชื่อ pubรูปแบบ $ ftp hostnameคำสั่ง ftp จะมีคำสั่งย่อยที่สำคัญๆ ได้แก่ftp> help ใช้เมื่อต้องการดูคำสั่งที่มีอยู่ใในคำสั่ง ftpftp> open hostname ใช้เมื่อต้องการ connect ไปยัง host ที่ต้องการftp> close ใช้เมื่อต้องการ disconnect ออกจาก host ที่ใช้งานอยู่ftp> bye หรือ quit ใช้เมื่อต้องการออกจากคำสั่ง ftpftp> ls หรีอ dir ใช้แสดงชื่อไฟล์ที่มีอยู่ใน current directory ของ host นั้นftp> get ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost หรือเครื่องของเรานั้นเองftp> mget ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhostftp> put ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทางftp> mput ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทางftp> cd ใช้เปลี่ยน directoryftp> delete และ mdelete ใช้ลบไฟล์
3.lynxโปรแกรมเว็บบราวเซอร์แบบ text
4.mesgเปิด/ปิดการรับข้อความจากคำสั่ง write
5.pingทดสอบการตอบสนองของโฮสต์ปลายทาง
6.writeคำสั่งส่งข้อความไปยังจอภาพอื่น

คำสั่งสำรองข้อมูล

1.คำสั่ง tarทำหน้าที่ขยายไฟล์แอพพลิเคชั่นและชุดแพคเกจรูปแบบการใช้งาน tar <พารามิเตอร์> <ไฟล์>ตัวอย่าง tar -xvf test.tarจัดเก็บไฟล์ให้รวมกันไว้ที่เดียว
2.คำสั่ง gzipทำหน้าที่บีบอัดไฟล์รูปแบบการใช้งานgzip <พารามิเตอร์> <ไฟล์ > <พารามิเตอร์>ตัวอย่างการใช้gzip star.txt star.zip filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar
3.คำสั่งgunzip คือขยายไฟล์ที่บีบไว้รูปแบบการใช้งานgunzip <พารามิเตอร์> <ไฟล์ > <พารามิเตอร์>ตัวอย่างการใช้งานgunzip star.zip

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการโปรเซส

1. Ps - การดูสถานะของ Process ต่างบนระบบแสดงโปรเซสทั้งหมดรูปแบบการใช้งาน ps[option]... โดย option ที่มักใช้กันใน ps คือ -l แสดงผลลัพธ์เป็น Long Format-f แสดงผลลัพธ์เป็น Full Format-a แสดง Proces ทั้งหมดที่มี TTY ตรงกับ TTY ของผู้ใช้งาน-x แสดง Process ทั้งหมด
2. Kill - คำสั่ง kill ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับยกเลิก Process) ส่งรหัสควบคุมไปยังโปรเซส รูบแบบการใช้งาน kill [option] (process ID) ตัวอย่าง ps -A ดูหมายเลขที่ช่อง PIDของProcess ที่ต้องการลบ Kill -9 nnn แทนnnnด้วยหมายเลขPID -9 คือบังคับฆ่าให้ตาย
3. Fg - โดยส่วนมากใช้คำสั่ง fg เพื่อที่นำ การทำงานของ process ที่หยุดลงไปกลับคืนมาทำงานต่อ (ซึ่งก็คือเหมือนคำสั่ง Ctrl-Z ) โดยส่ง signal ให้แก่ process ว่า CONT signal
4. Bg -
5. Jobs - คำสั่ง jobs ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่านข้อมูลของ Firewall) รูบแบบการใช้งาน jobsตัวอย่าง #sleep 20 & jobs

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดไพล์

1.คำสั่ง ls มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง dir ของ dosรูปแบบ $ ls [-option] [file]option ที่สำคัญl แสดงแบบไฟล์ละบรรทัด แสดง permission , เจ้าของไฟล์ , ชนิด , ขนาด , เวลาที่สร้างa แสดงไฟล์ที่ซ่อนไว้ ( dir /ah)p แสดงไฟล์โดยมี / ต่อท้าย directoryF แสดงไฟล์โดยมีสัญญลักษณ์ชนิดของไฟล์ต่อท้ายไฟล์คือ/ = directory* = execute file @= link fileld แสดงเฉพาะ directory (dir /ad)R แสดงไฟล์ที่อยู่ใน directory ด้วย (dir /s)เช่น$ ls$ ls -la
2.คำสั่งcdคำสั่ง cd ใช้สำหรับการเปลี่ยนไดเร็คทอรี่รูปแบบ: cd การเคลื่อนย้ายพื้นที่ในการใช้งาน ทำได้โดยใช้คำสั่ง cd ตามด้วยชื่อไดเร็คทอรี่ที่เป็นจุดหมายปลายทาง โดยจะเขียนชื่อของไดเร็คทอรี่แบบสัมบูรณ์ หรือแบบสัมพันธ์ก็ได้ เช่นตัวอย่าง: เคลื่อนไปไดเร็คทอรี่ bin ซึ่งอยู่ภายใต้ไดเร็คทอรีปัจจุบัน$ cd binตัวอย่าง: แสดงการใช้เส้นทางแบบสัมบูรณ์ระบุจุดหมายปลายทาง$ cd /rootตัวอย่าง: กลับไปยัง Home ไดเร็คทอรี่$ cdตัวอย่าง: การแสดงว่าขณะนี้เราทำงานอยู่ที่ไดเร็คทอรี่ใด$ pwd/home/train1ในตัวอย่างนี้คงจะเห็นว่า ถ้าใช้คำสั่ง cd เฉย ๆ คือการระบุให้กลับไปยังไดเร็คทอรีบ้าน อันได้แก่ ไดเร็คทอรีแรกที่เข้ามาเมื่อเริ่มเข้าสู่ระบบ ซึ่งสามารถเปลี่ยนค่าของไดเร็คทอรีบ้านได้ด้วยการเปลี่ยนค่าของตัวแปรเชลล์ที่ชื่อ HOME ส่วน “..” คือสัญลักษณ์ที่แสดงถึงไดเร็คทอรี “พ่อ” อันได้แก่ ชั้นที่อยู่ข้างบนชั้นปัจจุบัน
3.คำสั่ง pwd แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน$ pwdbobby@comsci:~$ pwd/home/bobby
4.คำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ดังนั้นการหาประเภทของแฟ้มข้อมูลจะดูจาก Context ภายในของแฟ้ม ซึ่งคำสั่ง file จะทำการอ่าน Content และบอกประเภทของแฟ้มข้อมูลนั้นๆ รูปแบบคำสั่ง file [option]... file ตัวอย่าง file /bin/sh file report1.doc
5.คำสั่ง mvใช้ move หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์รูปแบบ $ mv [-if] file_source file_targetความหมายของ option เช่นเดียวกับ cp$ mv index.html main.html เปลี่ยนชื่อไฟล์ index.html เป็น main.html
6.คำสั่ง mkdir ใช้สำหรับสร้างไดเร็คทอรี่รูปแบบ: mkdir ตัวอย่าง: การสร้างไดเร็คทอรี่ชื่อ mydir อยู่ในไดเร็คทอรี่ปัจจุบัน$ mkdir mydir
7.คำสั่ง rm คำสั่งสำหรับการลบไฟล์รูปแบบ: rm [option] option คือทางเลือกที่จะใช้กับคำสั่ง rm โดยจะยกตัวอย่างที่ใช้บ่อยๆ ได้แก่-r คือ การสั่งให้ลบไดเร็คทอรี่และไฟล์ภายใต้ไดเร็คทอรี่ (recursive)-f คือ การสั่งยืนยันการลบ (force) จะไม่ขึ้น prompt ถามยืนยันการลบfile_name คือ ชื่อไฟล์ที่ต้องการลบdirectory_name คือ ชื่อไดเร็คทอรี่ที่ต้องการลบตัวอย่าง การลบมากกว่า 1 ไฟล์$ rm oldbills oldnotes badjokesตัวอย่าง การลบไดเร็คทอรี่และไฟล์ภายใต้ไดเร็คทอรี่$ rm -r ./binตัวอย่าง การลบแบบยืนยันการลบ$ rm –f oldbills oldnotes badjokes
8..คำสั่ง rmdirคำสั่ง rmdir เป็นคำสั่งสำหรับการลบไดเร็คทอรี่รูปแบบ: rmdir directory_name คือ ชื่อไดเร็คทอรี่ที่ต้องการลบตัวอย่าง: การลบไดเร็คทอรี่ essays$ rmdir essays
9. Chown - คำสั่งChange Ownerของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนเจ้าของไฟล์)รูบแบบการใช้งาน chown [ซื่อเจ้าของไฟล์] (ชื่อFile)ตัวอย่าง chown user1 filename คือเปลี่ยนเจ้าของไฟล์ชื่อ filename เป็นUser1 chown -R user1.root dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname.
10. คำสั่งChgrp คำสั่งChange Groupของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของไฟล์)รูบแบบการใช้งาน chgrp [-chfRv] (Group) (File)ตัวอย่าง chgrp root /root/* เปลี่ยนGroupให้กับไฟล์ทุกไฟล์ในไดเรคทอรี่ /rootให้เป็น Group root

วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2551

vnwaer

1. vnwaer คืออะไร
VMWare คืออะไร? โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ ตัวอย่างเช่นในรูปที่ 2 เป็นรูปที่แสดงถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลงระบบปฏิบัติการ Windows XP อยู่เดิม แล้วทำการลงระบบปฏิบัติการ Windows NT ผ่านโปรแกรม VMWare อีกทีหนึ่ง ซึ่งเมื่อลงแล้ว ทั้งสองระบบสามารถทำงานพร้อมกันได้โดยแยกจากกันค่อนข้างเด็ดขาด (เสมือนเป็นคนละเครื่อง) โดยคอมพิวเตอร์เสมือนที่สร้างขึ้นมานั้น จะมีสภาพแวดล้อมเหมือนกับคอมพิวเตอร์จริงๆ เครื่องหนึ่ง ซึ่งจะประกอบด้วย พื้นที่ดิสก์ที่ใช้ร่วมกับพื้นที่ดิสก์ของเครื่องนั้นๆ การ์ดแสดงผล การ์ดเน็ตเวิร์ก พื้นที่หน่วยความจำซึ่งจะแบ่งการทำงานมาจากหน่วยความจำของเครื่องนั้นๆ

2. vmwawr มีประโยชน์อย่างไร

1. ใช้จำลองการทำงาน ระหว่าง Client และ Many Server Many OS

2. คุณสามารถลง บน XP หรือ Linux ก้อได้

3. สามารถทดสอบ กับ Client ใน Network หรือ กับ เครื่องเดียวกับ VM server ได้

4. ผมจำลอง 5.0 5.4 6.0 ใน เครือง ATEC RAM 512 MB, HD 80 GB

3. หน้าตาเป็นอย่างไร

















รูปที่ 1 เว็บไซต์ของ VMWare http://www.vmware.com















รูปที่ 2 แสดงการใช้ระบบปฏิบัติการ Windows NT บน Windows XP

4.มีเว็บไซต์ไหนที่อธิบายถึง vmware อย่างน้อย 7 อย่าง

1.http://www.vwware.com.

2.http://register.vwware.comฯลฯ

วันจันทร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ระบบปฏิบัติการ UINX

ประวัติ ระบบปฏิบัติการ UINX

ในทศวรรษที่ 60 สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT), AT&T Bell Labs และบริษัท General Electric ได้ร่วมมือกันวิจัยระบบปฏิบัติการที่ชื่อว่า Multics (ย่อมาจาก Multiplexed Information and Computing Service) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อทำงานบนเครื่องเมนเฟรมรุ่น GE-645 แต่ภายหลัง AT&T ได้ถอนตัวออกจากโครงการนี้
Ken Thompson ซึ่งเป็นหนึ่งในทีมพัฒนาในขณะนั้น ได้เขียนเกมบนเครื่อง GE-645 ชื่อว่าเกม Space Travel และพบปัญหาว่าเกมทำงานได้ช้ากว่าที่ควร เขาจึงย้ายมาเขียนเกมใหม่บนเครื่อง PDP-7 ของบริษัท DEC แทนด้วยภาษาแอสเซมบลี โดยความช่วยเหลือของ Dennis Ritchie ประสบการณ์เหล่านี้ทำให้ Thompson หันมาพัฒนาระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PDP-7
ระบบปฏิบัติการนี้มีชื่อว่า UNICS ย่อมาจาก Uniplexed Information and Computing System เนื่องจากว่าการออกเสียงสามารถสะกดได้หลายแบบ และพบปัญหาชื่อใกล้เคียงกับ Multics ภายหลังจึงเปลี่ยนชื่อเป็น Unix
การพัฒนายูนิกซ์ในช่วงนี้ยังไม่ได้รับความสนับสนุนด้านการเงินจาก Bell Labs เมื่อระบบพัฒนามากขึ้น Thompson และ Ritchie จึงสัญญาว่าจะเพิ่มความสามารถในการประมวลผลคำ (Word Processing) บนเครื่อง PDP-11/20 และเริ่มได้รับการตอบรับจาก Bell Labs ในปีค.ศ. 1970 ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงได้รับการเรียกชื่ออย่างเป็นทางการ โปรแกรมประมวลผลคำมีชื่อว่า roff และหนังสือ UNIX Programmer’s Manual ตีพิมพ์ครั้งแรกวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1971
ค.ศ. 1973 ได้เขียนยูนิกซ์ขึ้นมาใหม่ด้วยภาษาซี ทำให้สะดวกต่อการนำยูนิกซ์ไปทำงานบนเครื่องชนิดอื่นมากขึ้น ทาง AT&T ได้เผยแพร่ยูนิกซ์ไปยังมหาวิทยาลัย และหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล โดยสัญญาการใช้งานเปิดเผยซอร์สโค้ด ยกเว้นเคอร์เนลส่วนที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลี
ยูนิกซ์เวอร์ชัน 4,5 และ 6 ออกในค.ศ. 1975 ได้เพิ่มคุณสมบัติ pipe เข้ามา ยูนิกซ์เวอร์ชัน 7 ซึ่งเป็นเวอร์ชันสุดท้ายที่พัฒนาแบบการวิจัย ออกในค.ศ. 1979 ยูนิกซ์เวอร์ชัน 8,9 และ 10 ออกมาในภายหลังในทศวรรษที่ 80 ในวงจำกัดเฉพาะมหาวิทยาลัยบางแห่งเท่านั้น และเป็นต้นกำเนิดของระบบปฏิบัติการ Plan 9
ค.ศ. 1982 AT&T นำยูนิกซ์ 7 มาพัฒนาและออกขายในชื่อ Unix System III แต่บริษัทลูกของ AT&T ชื่อว่า Western Electric ยังคงนำยูนิกซ์รุ่นเก่ามาขายอยู่เช่นกัน เพื่อยุติความสับสนทางด้านชื่อ AT&T จึงรวมการพัฒนาทั้งหมดจากบริษัทและมหาวิทยาลัยต่างๆใน Unix System V ซึ่งมีโปรแกรมอย่าง vi ที่พัฒนาโดย Berkeley Software Distribution (BSD) จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ รวมอยู่ด้วย ยูนิกซ์รุ่นนี้สามารถทำงานได้บนเครื่อง VAX ของบริษัท DEC
ยูนิกซ์รุ่นที่เป็นการค้าไม่เปิดเผยซอร์สโค้ดอีกต่อไป ทางมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ จึงพัฒนายูนิกซ์ของตัวเองต่อเพื่อเป็นทางเลือกกับ System V การพัฒนาที่สำคัญที่สุดคือเพิ่มการสนับสนุนโปรโตคอลสำหรับเครือข่าย TCP/IP เข้ามา
บริษัทอื่นๆ เริ่มพัฒนายูนิกซ์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบของตนเอง โดยส่วนมากใช้ยูนิกซ์ที่ซื้อสัญญามาจาก System V แต่บางบริษัทเลือกพัฒนาจาก BSD แทน หนึ่งในทีมพัฒนาของ BSD คือ Bill Joy มีส่วนในการสร้าง SunOS (ปัจจุบันคือ โซลาริส) ของบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์
ค.ศ. 1981 ทีมพัฒนา BSD ได้ออกจากมหาวิทยาลัยและก่อตั้งบริษัท Berkeley Software Design, Inc (BSDI) เป็นบริษัทแรกที่นำ BSD มาขายในเชิงการค้า ในภายหลังเป็นต้นกำเนิดของระบบปฏิบัติการ FreeBSD, OpenBSD และ NetBSD
AT&T ยังคงพัฒนาความสามารถต่างๆ เข้าสู่ยูนิกซ์ System V และรวมเอา Xenix (ยูนิกซ์ของบริษัทไมโครซอฟท์), BSD และ SunOS เข้ามารวมใน System V Release 4 (SVR4) เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งเดียวสำหรับลูกค้า ซึ่งเพิ่มราคาขึ้นอีกมาก
หลังจากนั้นไม่นาน AT&T ขายสิทธิ์ในการถือครองยูนิกซ์ให้กับบริษัทโนเวลล์ และโนเวลเองได้สร้างยูนิกซ์ของตัวเองที่ชื่อ UnixWare ซึ่งพัฒนามาจากระบบปฏิบัติการ NetWare เพื่อแข่งกับระบบปฏิบัติการวินโดวส์เอ็นทีของไมโครซอฟท์
ค.ศ. 1995 โนเวลขายส่วนต่างๆ ของยูนิกซ์ให้กับบริษัท Santa Cruz Operation (SCO) โดยโนเวลยังถือลิขสิทธิ์ของยูนิกซ์ไว้ ค.ศ. 2000 SCO ขายสิทธิ์ส่วนของตนเองให้กับบริษัท Caldera ซึ่งเปลี่ยนชื่อภายหลังเป็น SCO Group ซึ่งเป็นสาเหตุในการดำเนินคดีละเมิดลิขสิทธิ์กับลินุกซ์

วันพฤหัสบดีที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551

คำอธิบายรายวิชา

คำอธิบายรายวิชา และ E-Learning
คำอธิบายรายวิชาระบบปฎิบัติการ 2 (4121402)ศึกษาหน้าที่และการดำเนินงานของระบบปฏิบัติการ เกี่ยวกับจัดการหน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง การจัดแฟ้มข้อมูล หน่วยรับและแสดงผลข้อมูลในลักษณะของผู้ใช้คนเดียว งานเดียว และใช้หลายคนหลายงานพร้อมกัน รวมทั้งการสื่อสารระหว่างขบวนการ (Interprocess Communication : IPC) แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์E-Learninghttp://cptd.chandra.ac.th/rawin/os2.
htmlhttp://computer.rru.ac.th/ln1/courses/6/lecture01.ppt
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัย ราชภัฏราชนครินทร์http://www.thaiabc.com/os/indexo.html
แหล่งที่มา เว็บ thaiabchttp://payamand.212cafe.com/archive/2008-06-17/os-2
แหล่งที่มา เว็บบล็อก 212cafehttp://th.wikipedia.org/wiki/ยูนิกซ์
แหล่งที่มา วิกิพีเดียสารานุกรมเสรีhttp://www.compsci.buu.ac.th/~krisana/310222/exercise/lab-01.doc
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์http://www.cs.psu.ac.th/intro_com/Files/Newบทที่5.1.doc
แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์http://learners.in.th/blog/bankeducation/160518
แหล่งที่มา Blog Alongkorn Pattamahttp://nanotech.sc.mahidol.ac.th/c/unix/index.htm
แหล่งที่มา เว็บไซต์ CIMShttp://banrong.blogspot.com/2008/02/4-unix.html
แหล่งที่มา Blog banrong.blogspot.com

แนะนำตัวเอง


ชื่อนางสาววิภาวดี โกกะพันธ์(5012252231)

โปรแกรมวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ห้อง 2 ที่อยู่ 156 หมู่4 อ.อุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ33120

ชื่อเล่น วิ โทร 0852082119



เพื่อนสนิท

ชื่อนายวิธรัตน์ ปรือปรัก(5012252237)

ชื่อเล่น วิทย์ โทร 0854127418



ชื่อนายวีระชัย รุ่งคำ (5012252112)

ชื่อเล่น ป๊อก โทร 0843942712

ชื่อนายทวีสักดิ์ พูลแก้ว (5012252204)
ชื่อเล่น(ซีโตส)


วันพุธที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2551

แนะนำตัวเอง

ชื่อนางสาววิภาวดี โกกะพันธ์ (5012252231)
ชื่อเล่นวิ โทร 0852082119
URL -http://vipavadee blogspot.com/
เพื่อนสนิท
นายวิธรัตน์ ปรือปรับ(5012252237)
URL-http://ple-vit.blogspot.com/

นายวีระชัย รุ่งคำ (5012252212)
ชื่อเล่นป๊อก โทร 0843942712
URL-http://pokpolo.blogspot.com/

URL - http://banrong.blogspot.com/2008/