วันพุธที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2553

FIBER OPTICS TO THE HOME (FTTH)

FIBER OPTICS TO THE HOME (FTTH
จาก ADSL สู FTTH
ระบบ ADSL (Asynchronous Digital Subscriber Line) เปนระบบการสื่อสารขอมูลที่ชวยใหขอมูลที่มี
แบนดวิดทสูง ๆ (เชน ภาพ) สามารถเดินทางในระบบสายสงทองแดงได โดยทั่วไปสายโทรศัพทที่เดินไปยังบานผู
เชาหรือที่เรียกวาสายดร็อบไวร (drop wire) ก็จะเปนสายทองแดงเสนเล็ก ๆ ที่มีขีดจํากัดในการสงผานขอมูลไดไม
มาก แตการที่ผเชาสามารถใชสายทองแดงสื่อสารขอมูลคอมพิวเตอรขนาดใหญ เชน สัญญาณภาพ หรือรวมไปถึง

การสื่อสัญญาณดิจิตอลที่มีอัตราการสงขอมูลหรือบิตเรต (bit rate) สูงได นั่นก็เพราะเทคโนโลยี ADSL จะทําหนา
หนาที่บีบอัดขอมูลใหมีขนาดเล็กลงจากเดิม จนสามารถสงผานไปในสายทองแดงซึ่งเปรียบเสมือนทอที่มีขนาด
เล็กได โดยปรกติ ADSL ที่ใหบริการพื้นฐาน จะใหความเร็วในการสงขอมูลอยูที่ประมาณ 1-2 Mb/s (บานเราเริ่มที่
128 kb/s) แตตัวระบบเองก็มีความสามารถที่จะสงขอมูลผานสายทองแดงดวยความเร็วที่สูงขึ้นเปน 12, 24 และ
40 Mb/s ได ซึ่งระบบที่มีความเร็วสูงขึ้นนี้บางทีอาจเรียกชื่อระบบเปน HDSL (High bit rate Digital Subscriber
Line) หรือ VHDSL (Very High bit rate Digital Subscriber Line) เปนตน อยางไรก็ตาม การสงขอมูลผานสาย
สงทองแดงมีขอดอยประการหนึ่งตรงที่ความเร็วในการสื่อขอมูลจะมีคาลดลงเมื่อระยะทางเพิ่มขึ้น
แมวา ADSL/HDSL/VHDSL จะสามารถสงขอมูลไดมากในชวงเวลาสั้น ๆ ก็ตาม แตเมื่อเทียบกับอัตรา
การเติบโตของผูใชบริการอินเตอรเน็ต ประกอบกับความตองการสื่อสารขอมูลในหลาย ๆ รูปแบบ โดยเฉพาะ
ขอมูลที่เปนสัญญาณภาพอยางตอเนื่อง ความเร็วที่ระบบ xDSL ( x หมายถึงอาจเปน A หรือ H หรือ VH ก็ได)
สามารถตอบสนองได กลั บ ดู จ ะช า เกิ น ไป จึ ง จํ า เป น ต อ งหาทางออกใหม ซึ่ ง ในที่ สุ ด ก็ ถึ ง เวลาของการนํ า
เสนใยนําแสงมาแทนที่ระบบสายสงทองแดงเพื่อการเขาถึง (access) บานผูเชา (subscriber) ดวยระบบที่เรียกวา
FTTH (Fiber-To-The-Home) (บางคนเรียก FTTP – Fiber To The Premise) ทั้งนี้เสนใยนําแสงมีคุณสมบัติ
เปรียบเสมือนทอนําสัญญาณขนาดใหญ ที่สามารถสงผานขอมูลที่มีขนาดใหญดวยความเร็วสูง ๆ ได (ปจจุบัน
ความเร็ ว ข อ มู ล สู ง สุ ด ที่ เ ดิ น ทางในเส น ใยนํ า แสงอยู ใ นเทอมของ เทอราบิ ต ต อ วิ น าที (Tb/s) หรื อ
1,000,000,000,000 บิตตอวินาที) ทําให FTTH สามารถใหบริการสื่อสารขอมูลไดหลายรูปแบบพรอมกัน เชน
ระบบอินเตอรเน็ตความเร็วสูง และระบบเคเบิลทีวี (CATV) เปนตน จากคุณสมบัติดังกลาว หลายคนเชื่อวา FTTH
จะเปนทางเลือกที่สําคัญของระบบโครงขายที่ใหบริการผูเชาในอาคารบานเรือนดวยระบบบรอดแบนดความเร็วสูง
(จริง ๆ) หรือ Broadband-access network
1.2 ความเปนมาของ FTTH
แนวความคิดในการนําระบบ FTTH เขามาใชเพื่อเชื่อมโยงสายสงสัญญาณดวยเสนใยนําแสงไปสูบานผู
เชาโดยตรง เริ่มขึ้นในราวกลางทศวรรษที่ 1970's แตก็ไมประสบความสําเร็จในเชิงพาณิชย อุปสรรคสําคัญใน
ขณะนั้นคือ ระบบและเสนใยนําแสงมีราคาแพงมาก เมื่อเทียบกับระบบสายสงทองแดง ทําใหภาคธุรกิจไมสนใจ
ลงทุนโดยเฉพาะในสวนที่ตองเชื่อมโยงเสนใยนําแสงสูบานผูเชาโดยตรง และเพื่อเปนการลดตนทุนในสวนนี้ ระบบ
FTTC (fiber to the curb) และระบบ HFC (hybrid fiber/coax) จึงไดถูกพัฒนาขึ้น โดยระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นมานี้
จะใชระบบสายสงสัญญาณแบบผสม คือมีท้ังเสนใยนําแสงและสายสงทองแดงใชงานรวมกันในโครงขาย โดย
ระบบ FTTC จะเนนที่การใชงานสายสงเสนใยนําแสงตลอดโครงขายไปสิ้นสุดยังหัวถนนหรือปากทางเขาหมูบาน
เทานั้น ในสวนของสายสงที่เขาถึงบานผูเชายังคงเปนสายทองแดงอยู ทําใหระบบ FTTC และ HFC มีราคาถูกลง
กวา FTTH (ในขณะนั้น) มาก แตในขณะเดียวกัน ก็สามารถใหบริการขอมูลความเร็วสูงได เพราะโครงขายสวน
ใหญใชเสนใยนําแสงเปนทอนําสัญญาณ ทั้งนี้ ระบบ HFC กลับเปนที่นิยมกวา FTTC เพราะราคาคอนขางจะถูก
กวา เนื่องจากระบบสายสงยังคงมีสวนประกอบของสายสงทองแดงมากกวา ตัวอยางของระบบ HFC ที่นํามาใช
ในบานเรา ไดแก ระบบเคเบิลทีวี (ที่เปนเคเบิลจริง ๆ ไมใชสวนของการรับสัญญาณผานดาวเทียม)
ตอมาเมื่ อถึงยุคสมัยของการสื่อสารขอมูลยุคโลกาภิวัฒ นดวยระบบอินเตอเน็ต ความตองการในการ
สื่อสารขอมูลเริ่มขยายตัวขึ้นมาก เพราะในทุก ๆ เดือน จะมีจํานวนผูใชบริการอินเตอรเน็ตเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ สงผลให
ความตองการในการสื่อสารขอมูลปริมาณมากที่มีความเร็วสูง ก็เริ่มเพิ่มมากขึ้นดวยตามลําดับ ในขณะที่โลกไดถูก
ยอลงดวยการเชื่อมโยงดวยระบบโครงขายและอินเตอรเน็ต ทําใหปริมาณผูใชที่ตองการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง
เริ่มมีมากขึ้น เชน กลุมผูใชที่เปนธนาคาร ตางตองการเชื่อมโยงระบบสื่อสารขอมูลของตนเองระหวางสาขาตาง ๆ
ที่อยูในพื้นที่ตาง ๆ ทั่วประเทศ เปนตน เพื่อตอบสนองความตองการดังกลาว ผูใหบริการจึงไดนําระบบบริการแบบ

ISDN (Integrated Services Digital Network) เขามาใช โดยตัวระบบทํางานสื่อสารขอมูลแบบดิจิตอล ทําให
ขอมูลตาง ๆ ที่มีลักษณะพื้นฐานดั้งเดิมไมเหมือนกัน สามารถสื่อสารรวมกันได เนื่องจากขอมูลทุกประเภทจะถูก
ทําใหเปนดิจิตอล ซึ่งมีสถานะเพียง 2 ระดับ คือ ศูนย “0” กับหนึ่ง “1” เทานั้น ดังนั้นขอมูลทุกชนิดจึงถูกระบบ
มองเห็ นเปนแบบเดียวกั นหมด ทํ าใหสื่ อสารรวมกั นได นอกจากนี้ระบบ ISDN ยัง ถูกออกแบบให ใช สายส ง
เสนใยนําแสงเชื่อมโยงไปยังบานผูเชาหรือสํานักงานไดโดยตรง ผูเชาเพียงแตแจงความจํานงและเสียคาบริการ
เฉพาะ ก็สามารถใชงานได สําหรับผูใชบริการที่ตองการสื่อสารขอมูลสวนตัวดวยทอสัญญาณขนาดใหญ ก็อาจทํา
ไดดวยการเชาสายสง (leased line) ที่เปนเสนใยนําแสง
ระบบ ISDN เปนระบบที่เสมือนเปนกาวแรกใหมีการใชเสนใยนําแสงเชื่อมโยงไปยังบานผูเชา แต ISDN
เองถูกออกแบบขึ้นโดยเนนที่ระบบสลับสายหรือสวิตชิ่ง (switching) อีกทั้งการเชาคูสายเสนใยนําแสงเพื่อขอใช
บริการ คอนขางจะมีราคาแพง ทําใหระบบ ISDN ไมเปนที่นิยมของผูใชบริการอินเตอรเน็ต แตดวยปริมาณขอมูล
สื่อสารที่นบวันจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จึงไดมีการพัฒนาระบบ ADSL ขึ้น เพื่อใหผูเชายังคงสามารถใชสายสงทองแดง

เดิมได แตในขณะเดียวกันก็สามารถสื่อสารขอมูลความเร็วสูงไดดวยการเพิ่มคาใชบริการอีกไมมากนัก
การเติบโตของของระบบอินเตอเน็ตในอัตรากาวหนา (หากมองเปนกาวกระโดก็คงไมผิดนัก) และความ
ตองการบริโภคขอมูลในรูปแบบตาง ๆ ทําให ADSL เริ่มมีปญหาในการใหบริการ แมวา HDSL จะสามารถ
ใหบริการไดสูงถึง 40 Mb/s ก็ตาม ความนิยมของผูใชอินเตอรเน็ตที่ตองการสื่อสารขอมูลขนาดใหญ เชน ขอมูล
ภาพนิ่งที่มีความละเอียดสูง และ ขอมูลภาพเคลื่อนไหว ลวนเปนปจจัยที่ทําใหเกิดการแขงขันในการใหบริการ
แบบบรอดแบนด (Broadband) มากยิ่ งขึ้ น ประกอบกั บเทคโนโลยี ของระบบสื่ อสารดว ยเส นใยนําแสง มีการ
พัฒนาไปจากเดิมมาก ทําใหมีระบบสื่อสารเชิงแสงมีราคาถูกลง จึงไดมีการนําเทคโนโลยี FTTH เขามาใชใหม เพื่อ
เปนทางออกของการใหบริการแบบบรอดแบนด (จริง ๆ)
FTTH เริ่มทําใหตลาดการใหบริการขอมูลแบบบรอดแบนดชนิดเขาถึงบานผูใชโดยตรงเริ่มคึกคักขึ้นก็
ในชวงเริ่มสหัสวรรษใหม (ตั้งแตปค.ศ. 2000 เปนตนมา) ปจจุบันในแตละเดือนจะมีจํานวนผูใช FTTH เพิ่มขึ้นถึง
ประมาณ 100,000 ราย ในบรรดาประเทศตาง ๆ ที่เปนผูนําในการใหบริการ FTTH เชน อเมริกา ออสเตรเลีย
ญี่ปุน และบางประเทศในยุโรปนั้น ญี่ปุนดูจะเปนประเทศที่มีอัตราการเติบโตของ FTTH มากที่สุดในชวงไมกี่ปที่
ผานมา ญี่ปุนเริ่มนําระบบ FTTH เขามาใชอยางจริงจังในป ค.ศ. 2002 (พ.ศ. 2545) โดยบริษัท NTT ทั้งนี้
ผูใชบริการจะสามารถสื่อสารขอมูลดวยความเร็วขั้นต่ําประมาณ 100-150 Mb/s ดวยการเสียคาใชจายที่แพงกวา
ADSL ประมาณไมเกินสองเทา (แตขอมูลมีความเร็วมากกวารวม 100 เทา !) และเมื่อถึงเดือนพฤษภาคม ค.ศ.
2005 (พ.ศ. 2548) ไดมีสมาชิกผูใชบริการมากถึง 2.8 ลานราย ทั้งนี้บริษัท NTT ตั้งเปาไววานาจะมีผูใชบริการถึง
30 ลานรายในป ค.ศ. 2010 (พ.ศ. 2553)
ในสวนของตลาดในเมืองไทย ระบบ ADSL เริ่มมีบทบาทในการทําใหธุรกิจการใหบริการขอมูลแบบบรอด
แบนดมีความคึกคักขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2548 เปนตนมา ดวยการใหบริการขอมูลดวยอัตราเร็วประมาณ 1-2 Mb/s
โดยผูเชาเสียคาบริการในอัตราที่ยอมรับได อีกทั้งการแขงขันที่กําลังกอตัวขึ้น นาจะมีแนวโนมทําใหคาบริการถูกลง
พรอมกับการใหบริการดวยอัตราการสื่อสารขอมูลที่มีความเร็วเพิ่มขึ้น จึงไมนาแปลกใจเลยวา ปจจุบัน (พ.ศ.
2549) เริ่มมีกลุมผูประกอบการหลายรายในเมืองไทย เริ่มหาพันธมิตรและวางแผนที่จะนําระบบ FTTH มา
ใหบริการในเมืองไทยกันแลว
2. ความสําคัญของ FTTH ในวงการสื่อสาร
2.1 ทําไมตองเปน FTTH
ปจจัยสําคัญที่ทําให FTTH เปนระบบที่นาสนใจสําหรับผูเชา (subscriber) หรือผูใช (user) โดยเฉพาะ
ผูใชบริการอินเตอรเน็ตมีอยู 2 ประการ คือ ความสามารถในการสื่อสารขอมูลดวยความเร็วสูง (high capacity)
และ ระบบมีความนาเชื่อถือ (system reliability)
โครงสรางพื้นฐานของสายสงที่ใชในระบบ FTTH ถูกกําหนดใหเปนเสนใยนําแสงตลอดเสนทางจากผู
ใหบริการไปจนถึงบานผูเชา ทําใหไดทอนําสัญญาณที่มีขนาดใหญสามารถสงขอมูลปริมาณมาก ๆ ไดในคราว
เดียวกัน โดยปรกติระบบโครงขายสื่อสารที่เปนเสนทางหลักขนาดใหญหรือแบ็กโบน (backbone) ตางก็ใชสายสง
ที่เปนเสนใยนําแสงแทบทั้งสิ้ น ดัง นั้น การนําเสนใยนําแสงมาใชใ นการเขาถึ ง (access) ผูเ ชาโดยตรง ยอม
สามารถรองรับความเร็วในการสื่อสารขอมูลไดท้ังสิ้น ในระบบ FTTH ความเร็วในการสื่อสารขอมูลจะเริ่มตนที่
100 Mb/s (บางทีก็เริ่มที่ 150 Mb/s) ซึ่งถือวาเร็วกวา ADSL ถึง 100 เทา (เมื่อเทียบกับ 1 Mb/s) โดยหลักการแลว
FTTH ไดถูกออกแบบใหทํางานรวมกับระบบ ATM (Asynchronous Transfer Mode) ไดดวย ซึ่งในกรณีน้ีจะทํา
ใหความเร็วในการสงขอมูลเพิ่มขึ้นเปน 622 Mb/s ยิ่งไปกวานั้น โครงขายเสนใยนําแสงมีสวนประกอบของอุปกรณ
ชนิดพอน (PON - Passive Optical Network) ซึ่งเปนลักษณะของโครงขายที่มีสวนของอุปกรณแบบพาสซีฟ
(passive) คือสามารถทํางานไดโดยไมตองปอนกําลังงานจากภายนอก ซึ่งอุปกรณชนิดพอน (PON) สามารถ
รองรับการทํางานในรูปแบบตาง ๆ ที่อยูในโครงขายไดในเวลาเดียวกัน การออกแบบให PON มีอัตราการรวมใช
งาน (sharing ratio) ลดลง หรือ การเพิ่มความยาวคลื่นแสงที่เปนคลื่นพาห สามารถทําให FTTH สื่อสารขอมูลที่มี
ความเร็วขนาด 2.488 Mb/s ไดอยางสบาย
การใชเสนใยนําแสงเปนสื่อสัญญาณ (Transmission) ของระบบ FTTH ทําใหขอมูลที่เดินทางระหวาง
สถานีมีลักษณะเปนแสง ซึ่งแตกตางจากขอมูลที่เปนสัญญาณไฟฟาในระะบบสายสงทองแดง ลองนึกดูถึงระบบ
โทรศั พ ท แ บบเดิ ม ในขณะที่ มี ก ารใช ง านสนทนากั น อยู อาจมี ผู ไ ม ห วั ง ดี ทํ า การลั ก ลอบดั ก ฟ ง ด ว ยการนํ า
เครื่องโทรศัพทมาตอพวง (Tapping) กับสายโทรศัพทที่เชื่อมตอเขาบานคูสนทนา (แนนอนตองตอพวงนอกบาน
โดยไม ใหใครรู) เพี ยงแค นี้ขอมูล ก็ไมเป นความลับอีกตอไป หรือหากวามีการสื่อสารเป นขอมูล ดิจิตอล คนที่ มี
ความรู (แตใชในทางที่ผิด) ก็สามารถนําสายไฟมาตอพวง (Tapping) เพื่อดึงสัญญาณไฟฟาออกมาไดโดยงาย
ลักษณะเชนนี้ทําใหการสื่อสารขอมูลไมมีความปลอดภัยและไมนาเชื่อถือ ในกรณีของเสนใยนําแสง การดึงขอมูล
ออกมาจากสายสงไมสามารถทําไดโดยงายเหมือนสายไฟฟา เพราะแสงจะเดินทางอยูภายในแนวแกนกลางของ
เสนใยนําแสง ไมมีการรั่วไหลออกสูภายนอกทางผิวโดยรอบ การนําเสนใยนําแสงอื่นมาสัมผัสผิวเสนใยนําแสง
(เหมือนสายไฟฟา) ไมอาจทํ าให แสงสง ผานระหวางกั นได จึ งทําใหการลักลอบดึงสั ญญาณแสงไมอาจทํ าได
โดยสะดวก (หากจะทําจริง ๆ ตองลงทุนใชอุปกรณและวิธีการพิเศษ ซึ่งไมคุมกัน) จึงทําใหการสื่อสารระบบ FTTH
มีความปลอดภัยและนาเชื่อถือ นอกจากนี้ เสนใยนําแสงในระบบสื่อสารมักทํามาจากแกว ไมเปนสนิมเหมือน
สายไฟ ทําใหมี ความทนทานตอการเปลี่ ยนแปลงของสภาพแวดลอมสูงอี กทั้ง ยัง มีอายุการใช งานสูง กวาสาย
ทองแดงอีกดวย
2.2 ขอดีของระบบ FTTH
แนวความคิดของเทคโนโลยี FTTH มีมานานรวม 40 ป แตเพิ่งจะมามีบทบาทตอระบบสื่อสารในชวงเวลา
เพียงไมกี่ปมานี้ ทั้งนี้มิใชเพียงแคเหตุผลที่เสนใยนําแสงมีราคาถูกลงเทานั้น แตยังมีองคประกอบอื่น ๆ ที่เปนขอดี
ของระบบ ดังนี้
• ระบบมีความเร็วสูง (High Capacity)
• เสนใยนําแสงมีขอดีเหนือระบบสายสงอื่นอยางมากตรงที่สามารถสื่อสารขอมูลขนาดใหญมาก ๆ

ได เนื่องจากเสนใยนําแสงมีคุณสมบัติเสมือนเปนทอสงสัญญาณที่มีขนาดใหญมากนั่นเอง ใน
ระบบสื่ อ สารป จ จุ บั น การส ง ข อ มู ล แบบดิ จิ ต อลกํ า ลั ง เป น ที่ นิ ย ม เนื่ อ งจากทํ า ให ข อ มู ล มี
คุณภาพสูง อยางไรก็ตาม การสรางขอมูลดิจิตอลจากขอมูลดั้งเดิมที่เปนสัญญาณแอนะล็อก
(เชน ภาพและเสียง) ทําใหขอมูลมีขนาดใหญกวาเดิมมาก ดังนั้นหากตองการสงขอมูลขนาด
ใหญ ใ ห ถึ ง ปลายทางโดยรวดเร็ ว ต อ งส ง ผ า นสายส ง ด วยอั ตราเร็ ว (bit rate) ที่ สู ง ซึ่ ง
เส น ใยนํ าแสงสามารถรองรั บการทํา งานในลั กษณะเช นนี้ ได โดยไม จํา เป นต องใช เ ทคนิ คอื่ น
เพิ่มเติมก็ได ในสวนของระบบ FTTH เอง ถูกออกแบบใหสามารถสื่อสารขอมูลที่ความเร็วปรกติ
ประมาณ 155 เมกกะบิตตอวินาที (Mb/s) ซึ่งถือวามีความเร็วมากกวาระบบ ADSL (ที่ความเร็ว
ปรกติ 1.5 Mb/s) รวมรอยเทาเลยทีเดียว
• ความเร็วในการสื่อสารขอมูลของ FTTH ที่ใหบริการในบานเรา อาจเริ่มตนที่ความเร็วต่ํากวา 155
Mb/s ซึ่งถือวายังต่ํากวามาตรฐานพื้นฐานของมัน แสดงใหเห็นวาระบบ FTTH สามารถรองรับ
การใชในงานการสื่อสารขอมูลความเร็วสูงมากในอนาคตไดอยางไมตองสงสัย หากผูใชบริการ
ตองการความเร็วที่มากขึ้น (แนนอนก็ตองเสียคาบริการเพิ่มขึ้น) ก็สามารถเลือกความเร็ว (ตามที่
ผูให บริการกําหนด)ได มากถึง 622 Mb/s หากขอมูล ที่วิ่ง อยู ระบบ FTTH ทํางานรวมกั บ
ระบบสื่อสารแบบ ATM (Asynchronous Transfer Mode) ในโครงขายสื่อสารที่ใหบริการ
• ยิ่งไปกวานั้น ระบบ FTTH ยังมีความยืดหยุนสูง หากมีการปรับปรุงระบบ PON (Passive
Optical Network ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป) ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น หรือ หากมีการนําระบบ DWDM
(Dense Wavelength Division Multiplex) ซึ่งเปนระบบการมัลติเพล็กสเชิงแสงที่ใชความยาว
คลื่นแสงเปนคลื่นพาห (carrier) มากกวาหนึ่งความยาวคลื่น (ดังที่ใชในระบบมาตรฐานของ
FTTH) ก็สามารถเพิ่มความเร็วของ FTTH ไดสูงถึง 2.488 Gb/s เลยทีเดียว.
• เมื่อเปรียบเทียบความเร็วในการสื่อสารขอมูล กับราคาการใหบริการซึ่งอาจสูงกวาระบบ xDSL
ไมมาก จะพบวาคาใชจายตอหนวยขอมูล (เชน y บาทตอขอมูลที่ 1 Mb/s) จะถูกกวาระบบที่ใช
ไฟฟาเปนสื่อสัญญาณมาก
• ระบบมีความนาเชื่อถือ (System Reliability)
• จากผลสํารวจพบวา ในกรณีของการพิจารณาเลือกใชระบบสื่อสารระยะไกล ลูกคาในปจจุบันให
ความสนใจตอระบบสื่อสารที่มีความนาเชื่อถือสูงเปนอันดับตน ๆ เหนือรายละเอียดที่เกี่ยวกับ
ราคคาใชจายซึ่งสอดคลองกับระบบ FTTH
• ความนาเชื่ อถื อของระบบ FTTH เกิ ดจากระบบสายส ง ที่เ ปนเส นใยนํ าแสง ซึ่ง วัส ดุที่ ใช ทํ า
เส น ใยนํ า แสงในระบบสื่ อ สารโทรคมนาคมมั ก เป น แก ว ทั้ ง นี้ แ ก ว จะมี ค วามทนทานต อ การ
เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมสูง อีกทั้งแกวไมเปนสนิม ทําใหเสนใยนําแสงมีอายุการใชงาน
นานมาก (เมื่อเทียบกับสายไฟโลหะ) ในการใชงานจริง วัสดุที่เปนเปลือกหุมเสนใยในลักษณะ
ของสายเคเบิล อาจสึกกรอนไปกอนตัวเสนใยนําแสงเอง อยางไรก็ตาม เคเบิลเสนใยนําแสงมักมี
อายุการใชงานอยางนอย 50 ปขึ้นไป ซึ่งถือวานานพอที่จะทําใหผูใชเกิดความมั่นใจในการนํา
สัญญาณของระบบ FTTH
• วัสดุที่ใชทําเสนใยแกวมีความเปนฉนวนไฟฟาโดยธรรมชาติ ทําใหปราศจากปญหาเกี่ยวกับการ
เหนี่ยวนําสนามแมเหล็กไฟฟา ซึ่งจะสงผลใหขอมูลสื่อสารไมมีสัญญาณรบกวนที่เกิดจากการ
เหนี่ยวนําสนามแมเหล็กไฟฟาเหมือนสายสงทองแดง สัญญาณสื่อสารในระบบ FTTH จึงเปน
สัญญาณที่สะอาดและเชื่อถือไดสูง
• ระบบ FTTH ใชเสนใยนําแสงเปนสายสงสัญญาณสงไปยังบานของผูใชผานอุปกรณที่เรียกวา
ONU (optical network unit) ซึ่งจะติดตั้งอยูภายในบานของผูเชา ONU นี้ทําหนาที่กระจาย
สัญญาณซึ่งสวนใหญเปนสัญญาณไฟฟาไปยังอุปกรณปลายทางที่อยูในบาน เชน คอมพิวเตอร
โทรศัพท หรือ โทรทัศน เปนตน เนื่องจากสายสงสัญญาณที่ตอเขากับ ONU เปนเสนใยนําแสง
ทําใหไมมีสวนของตัวนําเชื่อมตอเหมือนระบบโทรศัพท ทําใหชวยลดแรงไฟกระชาก (electrical
surge) ที่อาจเกิดจากฟาผา และการเหนี่ยวนําไฟฟา
• ระบบจายพลังงานไฟฟา (FTTH Powering)
• ในระบบโทรศัพทที่ใชสายทองแดงแบบเดิม (POT – Plain Old Telephone) มีขอดีตรงที่ระบบ
ยังคงใชงานไดเมื่อไฟดับ เนื่องจากพลังงานไฟฟาที่ทําใหระบบทํางานมาจากชุมสายโทรศัพท ไม
เกี่ยวของกับไฟฟาที่ใชอยูภายในบาน แตในระบบ FTTH อุปกรณ ONU (optical Network
Unit) ที่ติดตั้งอยูภายในบานของผูใชถือ เปนอุปกรณประเภท active ซึ่งหมายถึงอุปกรณที่ตอง
ใชพลังงานไฟฟาเพื่อทําใหตัวมั นทํางานได ประกอบกับเสนใยนําแสงไมสามารถนําพลังงาน
ไฟฟาไดเหมือนระบบสายโทรศัพททองแดง จึงจําเปนตองมีแหลงพลังงานไฟฟาเฉพาะสําหรับ
ONU นอกจากนี้ ONU ควรมีแบตเตอรีสํารอง เพื่อทําใหตัวมันสามารถทํางานไดแมไฟจะดับ ทํา
ใหระบบตองมีคาใชจายในการติดตั้งหรือ IFC (installed first costs) และคาใชจายตลอดการใช
งาน ( life-cycle costs : LCC) เพิ่มขึ้น
• อยางไรก็ตาม เทคโนโลยีในปจจุบัน สามารถออกแบบให ONU มีระบบจายพลังงานไฟฟาที่มี
ขนาดเล็ก รวมทั้งกินไฟต่ํา ซึ่งเมื่อคิดคํานวณเปรียบเทียบกับระบบ POT ที่ตองใชระบบจาย
พลังงานไฟฟาจากชุมสาย (ในขณะที่ระบบ FTTH ระบบพลังงานไฟฟาจะอยูที่บานผูใช) กลับ
กลายเปนวาพลังงานรวมที่เกิดขึ้นในระบบ FTTH กลับมีคานอยกวา ซึ่งเปนผลดีกับสภาพเสรษฐ
กิจของประเทศในระดับมหภาค
2.3 เทคโนโลยีขับเคลื่อน FTTH
แรงขั บเคลื่ อนสํ าคั ญที่ ทํ าให เทคโนโลยี FTTH ก าวเข าสู เ ชิ ง พาณิ ช ย ได แกเทคโนโลยี ตาง ๆ ที่ ผ าน
กระบวนการพัฒนามาแลวตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน โดยเทคโนโลยีที่เกี่ยวของโดยตรงมี 5 ประเภท ไดแก
• แหลงกําเนิดแสงเลเซอร
• แหลงกําเนิดแสงชนิดสารกึ่งตัวนําที่มักใชในระบบสื่อสารเชิงแสงมี 2 ประเภท คือ แอลอีดี (LED
– Light Emitting Diode) และเลเซอรไดโอด (LD – Laser Diode ) ในระบบสื่อสารขอมูลที่มี
ความเร็วสูงจําเปนตองใชเลเซอรไดโอด ทั้งนี้เพื่อลดปญหาของการเกิดดิสเพอรชั่น (dispersion)
ซึ่งเปนปรากฎการณที่ทําใหสัญญาณพัลสแสงเกิดการกระจายเชิงเวลาตามระยะทางที่เดินทาง
(ยิ่งระยะทางไกลขึ้นเทาไร พัลสจะยิ่งมีความกวางมากขึ้นเทานั้น) อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติ
หากจํ า เป น ต อ งติ ด ตั้ ง เลเซอร ไ ดโอดในงานข า ยสายตอนนอก (outside plant) ซึ่ ง มี ช ว ง
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามสภาพแวดลอมคอนขางกวาง (โดยเฉพาะเมืองไทย จะมีความรอนสูง
มากในตอนกลางวัน) จะทําใหการทํางานของเลเซอรไดโอดมีประสิทธิภาพลดลง โดยเฉพาะ
คากระแสเทรสโฮล (threshold current) หรือกระแสต่ําสุดที่ใชขับเลเซอรไดโอด จะมีคามากขึ้น
เมื่ออุณหภูมิของตัวมัน(ตามสภาพแวดลอม)เพิ่มขึ้น สงผลใหความเขมแสงที่เปลงออกมามีคา
ลดลง โดยทั่วไปการแกปญหานี้ทําไดโดยการเพิ่มสวนของวงจรตรวจวัดความเขมแสงขาออก
และเพิ่มสวนของวงจรปอนกลับเพื่อทําใหวงจรขับสัญญาณชดเชยคากระแสขับตามอุณหภูมิที่
เปลี่ยนไป ทําใหใหเลเซอรไดโอดขับคาความเขมแสงตามตองการออกมา นอกจากนี้ ยังอาจตอง
เพิ่ ม ส ว นของอุ ป กรณ ร ะบายความร อ นหรื อ ตั ว ลดอุ ณ หภู มิ (cooler) เพื่ อ ป อ งกั น ไม ใ ห
เลเซอรไดโอดรอนเกินไป เหลานี้ ลวนทําใหวงจรขับเลเซอรไดโอดมีความซับซอนและยุงยากขึ้น
• เทคโนโลยี ป จ จุ บั น สามารถออกแบบเลเซอร ไ ดโอดให มี ค วามไวต อ อุ ณ หภู มิ ล ดลง ดั ง เช น
เลเซอรไดโอดชนิดเฟบรีเพอโรต (FP : Fabry-Perot) ชนิดโหมดรวมตามแนวยาว (multi-
longitudinal mode) ซึ่งใชเทคโนโลยีควอนตัมเวล (strained-layer multi-quantum-well : SL-
MQW) ทําใหสามารถนํามาใชงานในสภาพกลางแจงเชนงานขายสายตอนนอกได โดยที่วงจรขับ
กระแสไมจาเปนตองมีความยุงยากดังไดกลาวมาแลว จึงทําใหตัวขับสัญญาณแสมีตนทุนที่ถูกลง

ทั้งในสวนของการติดตั้งและการดูแลซอมแซม
• การสงผานสัญญาณแสงจากแหลงกําเนิดแสงไปยังเสนใยนําแสงในระบบสื่อสาร จําเปนตองถูก
ออกแบบใหมีคาการสงผานกําลังงาน (coupling) สูง ในอดีตปญหาการสงผานกําลังงานต่ําเกิด
จาก ขนาดของพื้นที่เปลงแสงซึ่งมักพิจารณาจากเสนผานศูนยกลางของโหมดสนาม (MFD –
Mode Field Diameter) ระหวางเลเซอรไดโอดกับเสนใยนําแสงมักมีคาแตกตางกันมาก แต
ปจจุบันสามารถพัฒนาใหมีคาใกลเคียงกันมาก ประกอบกับการพัฒนาในเรื่องของตัวถังอุปกรณ
(component packaging) ชวยใหการตอเชื่อมระหวางเลเซอรไดโอดกับเสนใยนําแสงในแนว
เดียวกันมีความแนนอนและมีเสถียรภาพ จึงทําใหคาการสูญเสียสัญญาณบริเวณรอยตอระหวาง
เลเซอรไดโอดกับเสนใยนําแสงมีคานอยมาก
• เทคโนโลยีเกี่ยวกับการเลือกใชวัสดุที่เหมาะสม (เชน พลาสติกบางประเภท) ในการสรางตัวถัง
อุปกรณ มีสวนทําใหเลเซอรไดโอดมีราคาถูกลงแตยังคงความแข็งแรงทนทานในการใชงานอยู
อีกทั้งยังชวยใหเลเซอรไดโอดทํางานไดดีในชวงอุณหภูมิกวาง โดยมีผลกระทบตอความชื้นนอย
มากอีกดวย ซึ่งคุณสมบัติเหลานี้ มีความสําคัญตอการใชงานของระบบ FTTH เปนอยางยิ่ง
• ตัวแยกและสงผานสัญญาณตามความยาวคลื่น (Splitter and WDM coupler)
• โครงสรางของระบบเครือขาย FTTH (รายละเอียดจะกลาวถึงตอไป) จําเปนตองมีอุปกรณแยก
แสง (splitter) ในงานขายสายตอนนอก เพื่อแยกสัญญาณไปยังบานผูใช อุปกรณแยกแสงที่นิยม
ใชกันมาแตครั้งอดีต ไดแกคับเปลอรเสนใยแกว (fiber coupler) ชนิด FBT (Fused Biconical
Coupler) ชนิด 2x2 ซึ่งมีคุณสมบัติในการแบงแยกสัญญาณขาเขาไปสูขาออกในเสนทางตาง ๆ
โดยมีสดสวนความเขมแสงแตละแนวทางเปนไปตามที่ออกแบบ อีกทั้งคับเปลอรเสนใยแกวชนิด

FBT ยังสามารถออกแบบใหการทํางานขึ้นอยูกับคาความยาวคลื่นไดอีกดวย (WDM coupler)
ป จ จุ บั น ได มี ก ารพั ฒ นาตั ว แยกแสงโดยใช ท อ นํ า แสงแบบระนาบที่ ใ ช ซิ ลิ ก อนเป น วั ส ดุ ห ลั ก
(silicon planar waveguide) ซึ่งราคาของตัวแยกแสงทั้งสองคอนขางจะมีราคาสูงหากมีการ
สั่งซื้อเพียงไมกี่ตัวเชนในอดีต อยางไรก็ตาม การที่ระบบ FTTH เริ่มเปนที่นิยมมากขึ้น ทําให
ความตองการใชงานตัวแยกแสงมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นอยางมาก ทําใหราคาของอุปกรณมีราคาถูก
ลงอยางมาก (เพราะสามารถผลิตเปน mass product ได) อีกทั้งคุณภาพของอุปกรณยังดีกวา
แตกอนอีกดวย
• เทคโนโลยีปจจุบันไดพัฒนาใหตัวแยกแสงที่ใชทอนําแสงแบบระนาบมีขนาดเล็กลง (เชน 1.5
mm x 2 cm) มีความสามารถในการแยกแสงใหมีแสงขาออกไดหลายทาง สามารถทํางาน
ภายใตอุณหภูมิสูงได (เชน > 100oC) และที่สําคัญ มีคาการสูญเสียสัญญาณ (excess loss)
ต่ํา (<0.5>
คุณภาพสัญญาณยังคงเดิมอีกดวย
• เทคโนโลยีการแยกแสงแบบระนาบ ที่มีฟงกชั่นการทํางานขึ้นอยูกับความยาวคลื่นแสง (WDM
Coupler) ดังเชนอุปกรณที่เรียกวา WGR (waveguide grating router) เปนอุปกรณท่ีอาจจะยัง
ไมมีใหเห็นในเชิงพาณิ ชยนัก แตก็ถือวานาจะเปนอุปกรณ ในอนาคตของ FTTH ที่ชวยเพิ่ ม
ประสิทธิภาพเกี่ยวกับความเร็วในการสื่อสัญญาณ และการทับซอนของระบบสื่อสัญญาณตาง
ชนิดกันโดยไมรบกวนกัน ทําใหเชื่อมั่นไดวา FTTH เปนระบบที่มีความยืดหยุนในการใชงาน อีก
ทั้งยังมีเสนทางในการพัฒนาไปไดอีกมากในอนาคต
• เครือขายเชิงแสงแบบพาสซีฟหรือ PON (Passive Optical Network)
• คาใชจายสวนใหญในการติดตั้งระบบสื่อสารมักเกี่ยวของกับงานขายสายตอนนอก ระบบ FTTH
เปนระบบที่อุปกรณข ายสายตอนนอกเปนเครื อข ายเสนใยนําแสงที่บรรจุ ขอมู ลไดมาก ทํ าให
สามารถสื่อสารขอมูลสําหรับผูใชจํานวนมากผานเสนใยนําแสงเพียงเสนเดียวไดในเสนทางหลัก
ของการสื่อขอมูล จากนั้นจึงคอยใชตัวแยกแสง ทําการแยกขอมูลไปยังบานผูใชอีกทีหนึ่ง การที่
โครงสรางของระบบเปนเชนนี้จะทําใหระบบมีราคาถูกลง เพราะเสนใยนําแสงสามารถใชเปน
เสนทางรวมของการสื่อขอมูลได ประกอบกับตัวแยกแสง (เชน คับเปลอรชนิด FBT) เปนอุปกรณ
ประเภทพาสซีฟ (passive) (หมายถึงอุปกรณที่สามารถทํางานไดโดยไมตองปอนพลังงานจาก
ภายนอกใหกับตัวอุปกรณ) ซึ่งลักษณะเครือขายเชนนี้เรียกวาเครือขายเชิงแสงแบบพาสซีฟ หรือ
PON (Passive Optical Network – ตัวยออานออกเสียงวา “พอน”) จึงทําใหคาใชจายในของ
เครือขาย FTTH มีราคาไมแพงเมื่อเทียบกับปริมาณขอมูลที่ใหบริการ
• ระบบ FTTH สามารถทํางานรวมกับเทคโนโลยีมัลติเพล็กซเชิงแสงหรือ WDM (Wavelength
Division Multiplexing) ซึ่งเปนเทคนิคที่สามารถสื่อสารขอมูลตางชนิดกันดวยแสงที่มีความยาว
คลื่นแสงแตกตางกันไปในเสนใยนําแสงเสนเดียวกันได อันจะทําใหปริมาณขอมูลหรือความเร็ว
ในการสื่อสารขอมูลเพิ่มขึ้นอยางมาก ตามตัวคูณของจํานวนความยาวคลื่นแสงที่ใช ตัวอยางเชน
เครือขาย FTTH ที่ใชแสงเพียงความยาวคลื่นเดียวใหบริการที่ความเร็ว 100 Mb/s หากทําการ
ปรับปรุงสวนของภาคสงใหมีความยาวคลื่นแสงสําหรับสื่อสารไดพรอมกันเปนจํานวน 4 ความ
ยาวคลื่น ระบบเดิมจะมีความเร็วเพิ่มขึ้นเปน 4 เทา หรือ 400 Mb/s ในทันที จากจุดนี้จะเห็นวา
ระบบเครือขายของ FTTH สามารถพัฒนาใหเปนแบบ PON-WDM ไดโดยแทบไมตองไป
ปรับปรุงแกไขงานขายสายตอนนอกเลย จากรายงานในปจจุบันพบวา ระบบ FTTH ในเชิง
พาณิชยสามารถใหบริการเครือขายแบบ PON-WDM ที่ใชความยาวคลื่นแสงรวมกันถึง 16
ความยาวคลื่นแสงกันแลว และมีแนวโนมที่จะพัฒนาใหมีจานวนมากขึ้นไปเรื่อย ๆ

• การสื่อสารขอมูลดวยระบบเอทีเอ็ม (ATM transport)
• แมวา FTTH จะมีขอดีในเรื่องของความนาเชื่อถือและความเร็วในการสื่อขอมูล แตการที่จะตอง
ใหบริการเครือขายที่มีผูใชมากมายและหลากหลาย ทําใหมีขอมูลหลากหลายชนิดเดินทางอยูใน
ระบบ ปญหาสํ าคั ญในตอนนี้ก็คือ ทํ าอย างไรที่จะทําใหข อมู ลที่ แตกตางกัน สามารถสื่อสาร
รวมกันไดในระบบเดียวกัน ซึ่งทางออกของปญหานี้ก็คือการนําระบบสื่อสัญญาณแบบ ATM
(Asynchronous Transfer Mode) เขามาใชบนเครือขายของ FTTH
• โปรโตคอลของ ATM เปนโปรโตคอลที่มีความยืดหยุนสูง และเปนที่นิยมใชในเครือขายสื่อสาร
ทั่วไป ในระบบ ATM ขอมูลตาง ๆ ไมวาจะเปนเสียง ภาพ ขอมูลคอมพิวเตอร หรืออื่น ๆ ที่มี
ลั กษณะแตกต า งกั น จะถู กทํ าให เ ป นข อมู ล ดิ จิ ตอลเหมื อนกั น จากนั้ นข อมู ล นี้ จ ะถู กจั ดกลุ ม
เรียกวาเซลล (cell) กอนถูกสงออกไปยังปลายทางในลักษณะของการสื่อสัญญาณแบบแพกเก็ต
(packet switching) ซึ่ ง จะช วยใหระบบสามารถสื่ อสารขอมู ลที่ มีรูปแบบหลากหลายได ใ น
เครือขายเดียวกัน
• มาตรฐานทางเทคนิคของระบบ ATM ที่ใชงานบนเครือขาย PON (เรียกวา ATM-PON หรือ
APON) ถือเปนมาตรฐานสากล รายละเอียดทางเทคนิคสามารถคนควาเพิ่มเติมไดจาก ITU-T
G.983
• การบีบอัดขอมูลภาพ (Video Compression)
• ในบรรดาขอมูลชนิดตาง ๆ ที่ใชสื่อสารกัน ขอมูลภาพจัดวาเปนขอมูลที่มีขนาดใหญ แถบความ
กวางความถี่หรือแบนดวิดท (bandwidth) ของสัญญาณภาพเคลื่อนไหวมีคาประมาณ 6 MHz
และเมื่อผานกระบวนแปลงสัญญาณใหเปนขอมูลดิจิตอลตามปรกติจะตองใชอัตราเร็วในการ
สื่อสารขอมูลถึง 96 Mb/s!! ซึ่งจะเห็นวาการสื่อสารขอมูลภาพเคลื่อนไหวผานเครือขายที่เปน
สายไฟทองแดงไมสามารถทําไดเลย อยางไรก็ตาม ไดมีการพัฒนาเทคนิคการบีบอัดภาพใหมี
ขนาดเล็กลง ทําใหสามารถสื่อสารผานสายสงที่มีแบนดวิดทแคบอยางสายทองแดงได แตถา
สังเกตใหดี จะพบวารายละเอียดหลายอยางขาดหายไป ภาพที่ไดอาจไมใชตามเวลาจริงรอย
เปอรเซ็นต (มีหนวงเวลาไปบาง) หรืออาจมีลักษณะการเคลื่อนไหวแบบไมตอเนื่องจริง ๆ (จุดนี้
สังเกตไดชัด หากปรับขยายจอภาพใหใหญขึ้น)
• แมวาระบบ FTTH จะใชเสนใยนําแสงเปนสายสง ซึ่งโดยปรกติเสนใยนําแสงมีแบนดวิดทสูงกวา
สายสงทองแดงมาก แตการออกแบบระบบสวิตชิ่งและหาเสนทางที่ชุมสาย (ระบบ FTTH อาจ
เรียกสวนชุมสายนี้เปน CO – Central Office) ก็ยังคงเปนระบบอิเล็กทรอนิกสที่ทํางานดวย
ความเร็ วต่ํ า กว าความสามารถของเส น ใยนํ า แสงมาก ทั้ ง นี้ ดว ยเหตุ ผ ลเกี่ ย วกั บการควบคุ ม
คาใชจายของตนทุน เพื่อชวยใหผูใชสามารถจายคาบริการในอัตราที่สามารถจายไดตามสภาพ
เศรษฐกิ จ ดั ง นั้ น การสื่ อสั ญญาณภาพเคลื่ อนไหวที่ ตองอาศั ยความเร็วสู ง จึ ง จํ าเป นตองใช
เทคนิคการบีบอัดสัญญาณเชนเดียวกับสายสงทองแดง อยางไรก็ตาม การที่มีเสนใยนําแสงเปน
สายสง ทําใหไมตองคํานึงถึงปญหาในการสื่อสัญญาณเลย โดยสิ่งที่ตองสนใจก็คือคุณภาพของ
สัญญาณมากกวา
• เทคโนโลยีการบีบอัดสัญญาณภาพในปจจุบันไดพัฒนาไปมาก ตัวอยางเชน การบีบอัดภาพตาม
มาตรฐานของเทคนิค MPEG ซึ่งมีหลายระดับตั้งแต MPEG-1, MPEG-2, ... , MPEG-5, ... ทํา
ใหสัญญาณภาพที่ถูกบีบอัดมีขนาดเล็กลง ในขณะเดียวกันคุณภาพของสัญญาณที่ไดก็เพิ่มขึ้น
ในกรณีของมาตรฐาน MPEG-2 สามารถบีบอัดสัญญาณภาพลงมาไดเหลือเพียง 1.5 – 6 Mb/s
โดยที่คุณภาพของภาพเคลื่อนไหวตามเวลาจริง (real time) อยูในเกณฑที่ดีทีเดียว ยิ่งไปกวานั้น
ในระบบของสัญญาณภาพความละเอียดสูงหรือ ( HDTV – High Definition Television) ซึ่งมี
ขนาดของขอมูลดิจิตอลอยูที่ 1 Gb/s สามารถใชเทคโนโ,ยีของ MPEG บีบอัดลงไดเหลือเพียง
20 Mb/s เทานั้น !! และที่สําคัญอุปกรณที่เปนชิพ (chip) ในการประมวลสัญญาณภาพ ก็มี
ราคาถูกลง และเมื่อตองซื้อเปนปริมาณมากเพื่อมาใชในระบบ FTTH ก็ยิ่งทําใหตนทุนรวมตอ
ปริมาณขอมูลมีราคาไมแพงเลย
• ระบบ FTTH เปนระบบที่สามารถสื่อสารสัญญาณภาพที่ผานกระบวนการบีบอั ดภาพแบบ
ดิจิตอลดังกลาวได ซึ่งเมื่อพิจารณาความเร็วพื้นฐานของ FTTH ที่ประมาณ 100-150 Mb/s แลว
จะพบวา ชองสัญญาณมีขนาดใหญเพียงพอที่จะสื่อสัญญาณภาพที่มีคุณภาพสูงไดอยางสบาย
หลายชองพรอมกัน อันจะทําใหการบริการขอมูลเปนไปอยางไรขีดจํากัด
3. โครงสรางทางเทคนิคของระบบ FTTH
3.1 โครงสรางพื้นฐาน
โครงสรางทางเทคนิคพื้นฐานของระบบ FTTH แสดงดังรูปที่ 3 หากเราจินตนาการถึงเครือขายสื่อสาร
โทรคมนาคมทั่วไป ใหนึกถึงภาพคลายกลุมกอนเมฆในรูป ซึ่งหมายถึงวา โครงสรางภายในโครงขายจะเปนอะไรก็
ตาม เราจะไมสนใจ (เพราะมันคงซับซอนมาก) รูแตวามันสามารถทําใหขอมูลเดินทางจากตนทางไปถึงปลายทาง
ไดก็พอ ในระบบ FTTH จะมีชุมสายที่เปนสํานักงานกลางเรียกวา CO (Central Office) หรือบางทีเรียกวา HDT
(Host Digital Terminal) หรือ HD (Head End) ทําหนาที่จัดการเกี่ยวกับสัญญาณการใหบริการไปยังผูใชท่ีอยูใน
เขตควบคุมของ CO อีกทั้งยังตองทําหนาที่เชื่อมโยงขอมูลเขากับระบบสื่อสารโทรคมนาคม (กลุมกอนเมฆในรูป)
เพื่อรับสงขอมูลไปยังที่อื่นตามความตองการของผูใช
ภายใน CO จะประกอบดวยอุปกรณซึ่งสวนใหญเปนอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส ทําหนาที่ประมวล
สัญญาณ เชน ตัดตอหรือสลับสาย (switching) จัดหาเสนทางการเดินทางของขอมูล (routing) และอื่น ๆ ตามที่
จําเปน ระหวาง CO กับบานผูใช เปนงานขายสายตอนนอก ประกอบดวยเสนใยนําแสงเชื่อมโยงไปยังกลุมบาน
ผูใชในลักษณะของการกระจาย (distribution) ไปยังชุมชนเขาสูบานผูใชตามลําดับ เสนใยนําแสงที่ออกจาก CO
ตองมี ความสามารถในการสื่ อสั ญ ญาณที่มี ปริ ม าณมากขอมู ลมาก ๆ ได สวนของเคเบิ ลเส นใยนํา แสงสวนนี้
เรียกว า ฟดเดอร (Feeder) (ดูรูปที่ 4) เสนทางเดิ นของสายสง เส นใยนําแสงจากฟดเดอรจ ะถู กแยกออกเป น
เส น ทางย อ ยเพื่ อ ส ง ข อ มู ล ไปยั ง ชุ ม ชนต า ง ๆ ส ว นของเคเบิ ล เส น ใยนํ า แสงส ว นนี้ เ รี ย กว า ดิ ส ตริ บิ ว ชั่ น
(Distribution) ในแตละชุมชนหรือกลุมผูใชปลายทาง จะมีตัวแยกขอมูลสงผานสายสงเสนใยนําแสงไปแตละบาน
โดยเฉพาะ ลักษณะเชนนี้เรียกวาการเขาถึงหรือ แอกเซส (access) และสายเคเบิลเสนใยนําแสงในสวนของ
access นี้จะถูกเรียกวาเปน drop cable (ในทํานองเดียวกับระบบโทรศัพทสายทองแดง) ดานปลายของ
เสนใยนําแสงที่เขาไปยังบานผูใช จะตอเขากับอุปกรณท่ีเรียกวา ONU (Optical Network Unit) หรือบางคน
เรียกวา ONT (Optical Network Termination) เพื่อทําหนาที่กระจายสัญญาณทั้งในรูปแบบของสัญญาณแสง
และไฟฟาไปยัง อุปกรณใช งาน ซึ่ง อาจเปน โทรศั พท โทรทัศน โทรสาร หรื อ เครื่องคอมพิ วเตอร เป นต น ทั้ง นี้
จํานวนอุปกรณใชงานในบานของผูใชอาจมีไดมากกวาหนึ่งอุปกรณ ขึ้นกับปริมาณขอมูล(ความเร็ว)ที่ใชบริการ
(จายเงินมากก็ไดขอมูลมาก) และรูปแบบการใหบริการของผูใหบริการ (Operator)
โครงสรางพื้นฐานสําคัญของระบบ FTTH เกี่ยวของกับการเชื่อมโยงเสนใยนําแสงจาก CO ไปยังบานผูใช
ยิ่งระบบ FTTH มีจํานวนบานผูใชเพิ่มขึ้นเทาไร ก็จําเปนตองเชื่อมโยงเสนใยนําแสงมากขึ้นเทานั้น (ผูประกอบ
กิจการขายเคเบิลเสนใยนําแสงนาจะยิ้มออก) รูปแบบการเดินสายสงสัญญาณจาก CO ไปยังบานผูใช มีลักษณะ
เปนแบบ point-to-multipoint network (PTMPN) ซึ่งในระบบ FTTH สามารถจําแนกไดเปน 2 ลักษณะ ไดแก
แบบรวมศูนยกลาง (Centralized Splitting) และ แบบกระจาย (Distributed Splitting) ดังแสดงในรูปที่ 6 ใน
ลักษณะของการเดินสายสงแบบรวมศูนยกลาง ระบบการแยกสายไปยังชุมชุนตาง ๆ จะถูกแยกไปในลักษณะ 1
สาย ตอ 1 ชุมชน และเมื่อไปถึงชุมชุนตาง ๆ เสนใยนําแสงจะถูกแบงแยกเขาไปยังบานผูเชาอีกทีหนึ่ง เครือขาย
เชิงแสงแบบพาสซีฟ PON (Passive Optical Network) ที่ใชในระบบ FTTH อาจแบงแยกเปนกลุมยอยไดอีก ตาม
ลักษณะของตัวแยกแสง (splitter) ที่ใช เชนระบบ PON ทั่วไปอาจใชตัวแยกแสงชนิด 1:4 หรือ 1:8 ระบบ EPON
ใชตัวแยกชนิด 1:16 ในขณะที่ระบบ BPON ใชตัวแยกชนิด 1:32 โดยที่ระบบสามารถทํางานไดกับความยาวคลื่น
แสงสูงสุดถึง 3 ความยาวคลื่น (1490 nm และ 1310 nm สําหรับขอมูลเสียงและขอมูลดิจิตอลที่เปน data และ
1550 สําหรับขอมูลภาพ) ที่ความเร็วสูงสุดประมาณ 622 Mb/s ปจจุบัน เริ่มมีผูผลิตหลายรายพัฒนาระบบ
GPON ขึ้นมา สําหรับทํางานกับตั วแยกแสง (splitter) ชนิด 1:64 ทั้ งนี้ระบบ GPON ถูกออกแบบให มี
ประสิทธิภาพในการสื่อสัญญาณสูงขึ้น มีความเร็วในการสงขอมูลสูงถึง 2.4 Gb/s อีกทั้งยังสามารถใหบริการไปยัง
บานผูใชที่อยูหางไกลจาก CO มากกวา 30 กิโลเมตรไดอกดวย

การเดินสายสงแบบรวมศูนยกลาง (Centralized Splitting) มีขอดี ดังนี้
• การทดสอบเครือขายเสนใยนําแสงทําไดโดยงาย
• การเปลี่ยนแปลงไปใชตัวแยกแสงที่มีอัตราสวนการแยกมากขึ้น สามารถทําไดโดยงาย
• มักใชเปนระบบพื้นฐานกอนที่จะเปลี่ยนไปใชระบบอื่นในอนาคต
สวนการเดินสายสงแบบการกระจาย (Distributed Splitting) มีขอดีดังนี้
• ใชเคเบิลเสนใยนําแสงนอยกวา ทําใหมีตนทุนในการติดตั้งและดําเนินการต่ํากวา
• คาใชจายในสวนของตูแยก (cabinet) จะถูกกวา เพราะสวนใหญตูแยกมีขนาดเล็ก อีกทั้งสามารถใช
หัวตอ (closure) สําหรับการเชื่อมตอแบบสไปลซ (splice) ซึ่งมีราคาถูก ในตูแยกได
อยางไรก็ตาม การเชื่อมโยงสายสงดวยรูปแบบการกระจาย (Distributed Splitting) มีขอดอยตรงที่การ
ทดสอบเครือขายมีตนทุนเพิ่มขึ้น ทําใหการใชงานโครงขายในอนาคตขาดความยืดหยุน ดังนั้น ผูใหบริการสวน
ใหญจึงมักเลือกใชรูปแบบของการเดินสายแบบรวมศูนยกลาง (Centralized Splitting) ในเครือขาย FTTH แมวา
ราคาในการติดตั้งจะสูงกวาก็ตาม
รูปที่ 7 แสดงตัวอยางการออกแบบเครือขายเชื่อมโยงของเคเบิลเสนใยนําแสงทั้ง 2 รูปแบบเปรียบเทียบ
กัน ภาพดานซายแสดงรูปแบบการแยกเสนทางสายสงแบบกระจาย (Distributed Splitting) ที่ใชตัวแยกแสงชนิด
1:8 และ 1:4 ตอเรียงลําดับกันไป (คลายแบบ cascade) ในขณะที่ภาพดานขวาแสดงรูปแบบการรวมศูนยกลาง
เพื่อแยกเสนทางไปยังบานผูใช (Centralized Splitting) โดยใชตัวแยกแสง (splitter) ชนิด 1x32 เพียงตัวเดียว จะ
เห็นวาระบบมีความยุงยากนอยกวาแตตองใชเคเบิลเสนใยนําแสงมากกวา (หมายเหตุ OLT ในรูปที่ 7 หมายถึง
Optical Line Termination) สวนรูปที่ 8 แสดงภาพถายของอุปกรณในสวนตาง ๆ ในระบบสายสงของ FTTH

ไม่มีความคิดเห็น: