วันพุธที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2553

X.25

X.25
เป็น Protocol ส่งผ่าน packet switch เชื่อมต่อ DCE and DTE ใช้กับ LAN and WAN
- Physical พุดถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์
- Link level = Data Link เกี่ยวข้องกับการส่งข้อมูลแต่ละ Frame จะมีตัวควบคุม error
- Packet Level = Network Layer เส้นทางในการเชื่อมต่อเครือข่าย
ครือขาย X.25 แพ็กเจสวิตช (X.25 Packet Switched Network)
เครือขาย X.25 แพ็กเจสวิตช หรือเรียกสั้นๆ วา เครือขาย X.25 เปนเครือขายสาธารณะประเภท WAN
(Wide Area Network) สําหรับการสงขอมูลดิจิตอลทางไกล มีความสามารถในการตรวจสอบและแกไขขอมูลได
เครือขาย X.25 เปนเครือขายการสงขอมูลดิจิตอลสาธารณะที่ไดรบความนิยมมาก หลักในการสงขอมูลจะใชหลัก

การเดียวกับการสงขอมูลผานเครือขายแพ็กเกจสวิตช
ขอมูลทั้งหมดที่ตองการจะสงใหแกอุปกรณคอมพิวเตอรปลายทางที่อยูไกลออกไป จะถูกแบงออกเปน
บล็อกขอมูลขนาดเล็กเรียกวา แพ็กเกจ แตละแพ็กเกจจะประกอบดวยสวนหัวซึงจะบอกขาวสารตางๆ เกี่ยวกับ

ขอมูลรวมทั้งตําแหนงของปลายทางของขอมูล เครือขายจะทําการสงขอมูลแบบซิงโครนัสดวยโปรโตคอลควบ
คุมการจัดการขอมูล และเสนทางของขอมูลซึ่งเปนโปรโตคอลแบบซิงโครนัส เชน SDLC หรือ HDLC เปนตน
ขอมูลจะถูกสงผานเครือขายดวยความเร็วสูง และสามารถไปถึงปลายทางไดในเวลาไมถึง 1 วินาที แตละโหนด
ที่ขอมูลถูกสงผานเขาไปจะเปน Store – and – Forward เพื่อกักเก็บขอมูลไวตรวจสอบ และแกไขขอมูลที่ผิด
พลาดทําใหโหนดปลายทางสามารถมั่นใจไดวาขอมูลที่ไดรับมาถูกตองเปนลําดับเชนเดียวกับที่ออกมาจากตน
ทาง
การติดตอสื่อสารขอมูลในเครือขาย X.25 จะถูกกําหนดใหเปนไปตามมาตรฐาน CCITT Recommendation
X.25 เพื่อใหบริษัทผูใหบริการสื่อสารขอมูลตางๆ ยึดถือเปนมาตรฐานเดียวกันในการสง – รับขอมูลผานเครือขาย
ทําใหเครือขาย X.25 ไดรบความนิยมแพรหลาย

องคประกอบที่สาคัญของเครือขาย X.25 แพ็กเกจสวิตช ไดแก

1. สถานีแพ็กเกจสวิตชหรือโหนด เพื่อเก็บกักและสงตอขอมูล รวมทั้งตรวจสอบความผิดพลาดของ
ขอมูล
2. อุปกรณแยกหรือรวมแพ็กเกจ (X.25 PAD) เพื่อแยกขอมูลออกเปนแพ็กเกจ หรือรวมแพกเกจขอมูล
รวมทั้งทําหนาที่เปนคอนเวอรเตอร (Converter) คือ จัดการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลของขอมูลที่ตาง
ชนิดกันใหเปนโปรโตคอลชนิดเดียวกัน เพื่อใหสามารถติดตอสื่อสารกันได
3. ศูนยกลางควบคุมแพกเกจ (NCC) หรือ Network Packet Control Center เปนศูนยกลางซึ่งทําหนาที่
ควบคุมการทํางานของแพ็กเกจสวิตชของเครือขาย ซึ่งไดแกบริษัทผูใหบริการการสื่อสารขอมูลชนิด
นี้
4. แพ็กเกจคอนเซนเตรเตอร ทําหนาที่เปนมัลติเพล็กซ และดีมลติเพล็กซสัญญาณของแพ็กเกจขอมูลที่

มาจากแหลงตนทางใหผานรวมกันไปในสายเดียวกันรวมทั้งยังสามารถตรวจสอบความผิดพลาด
ของขอมูล และจัดการแปลงโปรโตคอลของขอมูลใหเปนแบบเดียวกันไดอีกดวย
5. โปรโตคอล X.25 เปนโปรโตคอลที่ใชในการติดตอสือสารขอมูลภายในเครือขาย X.25 การทํางาน

ของโปรโตคอล X.25 จะทําการติดตอสื่อสารอยูใน 3 เลเยอรลางสุดของสถาปตยกรรมรูปแบบ
OSI การติดตอสื่อสารเหนือเลเยอรชั้น Network จะเปนหนาที่ของโปรแกรมซอฟตแวรการสื่อสาร
ระหวาง Application – to – Application หรือ User to Application
โปรโตคอลเครือขาย X.25 จะใชการสงขอมูลแบบซิงโครนัสชนิด HDLC (High-Level Data Link
Control) ในเฟรมของ HDLC จะใช CRC-16 (Cyclic Redundan Check) เปนเทคนิคในการตรวจสอบ และแกไข
ความผิดพลาดของขอมูล สวนหัวและสวนทายของเฟรมจะบงบอกขาวสารเกี่ยวกับขอมูลรวมทั้งเสนทางการสง
ขอมูลผานเครือขายดวย เฟรมสงขอมูล HDLC ของเครือขาย X.25
เครือขาย X.25 นอกจากจะใชมาตรฐาน CCITT X.25 กําหนดวิธีการติดตอสื่อสารขอมูลภายในเครือ
ขาย X.25 แลว ยังมีมาตรฐานอื่นที่สําคัญที่เกี่ยวของกับเครือขาย X.25 อีก เชน CCITT X.3 , CCITT X.28 และ
CCITT X.29
CCITT X.3
เปนมาตรฐานกําหนดฟงกชนหนาที่การทํางานของ X.25 PAD และพารามิเตอรตางๆ ที่ใชในการควบ

คุมการทํางานของ X.25 PAD เนื่องจาก X.25 PAD ถือเปนดานแรกที่จะติดตอกับระบบตางๆ นอกเครือขาย
X.25 ซึ่งเทอรมินัลที่ตอเขากับ X.25 PAD หรือแอปพลิเคชันของเทอรมินลที่รันผาน X.25 PAD อาจจะตาง

แบบตางชนิดกัน ดังนัน X.25 PAD จึงตองมีพารามิเตอรมากพอ (12 พารามิเตอร) ที่จะรองรับความหลากหลาย

ของระบบภายนอกเครือขายดวย
CCITT X.28
เปนมาตรฐานการติดตอกันระหวางเทอรมนัลกับ X.25 PAD โดยปกติแลวมาตรฐาน X.28 จะกําหนด

รหัสการติดตอกับรหัสแอสกี (ASCII Code) ซึ่งประกอบดวยบิตขอมูล 7 บิต ตอ 1 อักขระขอมูล และบิตที่ 8
เปนพาริตี้บิตสําหรับการตรวจสอบความผิดพลาดของขอมูล และเชนเดียวกันอักขระควบคุมก็ใชรหัสแอสกี นอก
จากนี้ X.28 ยังสามารถกําหนดสัญญาณ Break Signal สําหรับการขัดจังหวะ (Interrupt) หรือหยุดการสื่อสาร
ขอมูล หรือแอปพลิเคชัน โดยเทอรมินัลจะเปนผูสงสัญญาณนั่นเอง
CCITT X.29
เปนมาตรฐานกําหนดการติดตอระหวางโฮสตคอมพิวเตอรกับ X.25 PAD คือ นอกจากโฮสตจะสามารถ
สง – รับขอมูลผาน X.25 PAD ไปยังเทอรมนลที่อยูไกลออกไปแลว X.29 ยังกําหนดใหโฮสตสามารถมีคาสั่ง
ิ ั ํ
ควบคุม (Control Command) ในการเปลี่ยนลักษณะการทํางานของ X.25 PAD ไดอีกดวย เพื่อความสะดวกใน
การติดตอกับเทอรมินัล
โปรโตคอล X.25
โปรโตคอล X.25 เปนโปรโตคอลแบบบิตขอมูล (Bit-Oriented) ซึ่งกําหนดมาตราฐานโดยองคกร
CCITT (Consulative Committee in International Telegraphy and Telephony) ซึ่งใชกันแพร หลายทั้งในยุโรป
และอเมริกาเหนือ การทํางานของโปรโตคอล X.25 จะอยูในเลเยอร 3 ชั้นลางของรูปแบบ OSI เทานั้น บางครั้งเรา
เรียกโปรโตคอล X.25 วา "แพ็กเกจเลเยอรโปรโตคอล" (Packet Layer Protocol) เพราะมักใชเครือขายแพ็กเกจ
สวิตช
โปรโตคอล X.25 ใชติดตอระหวางเครื่องโฮสต หรือ DTE (Data Terminal Equipment) กับสถานีนําสง
หรือ DCE (Data Communication Equipment) สําหรับในการอินเตอรเฟซกับเลเยอรชั้นลางสุด (Physical Layer)
โปรโตคอล X.25 ยังตองอาศัยโปรโตคอล X.21 หรือ X.21 bis ชวยในการติดตอกับ การอินเตอรเฟซแบบดิจิตอล
และอินเตอรเฟซแบบอนาล็อกตามลําดับ
เฟรมขอมูลของโปรโตคอล X.25 นั้นจะแบงออกเปนเฟรม ๆ เรียกวาแพ็กเกตเชนเดียวกับเฟรมขอมูล
ของโปรโตคอล SDLC ในการสื่อสารขอมูลกันระหวาง DTE และ DCE ในเลเยอรชั้นที่ 2 นั้น สามารถ สื่อสาร
กันโดยผานทางสายโทรศัพทได
สําหรับในการสื่อสารขอมูลในเลเยอรชั้นที่ 3 เลเยอร Network หรือบางทีเรียกวา "เลเยอร Packet" จะมี
ลักษณะการสื่อสารที่เรียกวา วงจรเสมือน (Virtual Circuit) ซึ่งมีลักษณะการติดตอสื่อสารอยู 3 ขั้นตอนคือ
1. การกําหนดวงจรสื่อสาร (Establish) เริ่มตนจาก DTE ตนทางสงสัญญาณขอติดตอขอมูลกับ DTE
ปลายทาง เมื่อทาง DTE ปลายทางตอบรับการติดตอวาพรอม ก็เปนอันวาวงจรการสื่อสารไดเริ่มตนขึ้น แลว
2. การสง - รับขอมูล (Transmit) เปนการรับ - สงแลกเปลี่ยนขอมูลซึ่งกันและกันระหวาง DTE ทั้ง 2 ดาน
ขอมูลจะถูกสงเปนแพ็กเกจ ๆ ผานเครือขายแพ็กเกจสวิตช
3. การยุติการสื่อสาร (Disconnect) DTE ตนทางจะสงสัญญาณบอกยุติการสื่อสารตอ DTE ปลายทาง
โดยตองรอให DTE ปลายทางยืนยันการยุตการสื่อสารกลับมาดวย

โปรโตคอล X.25 สามารถใชไดกบอุปกรณสื่อสารขอมูลทั่วไป ที่ผลิตจากบริษัทตางกัน และยัง

สามารถใชไดกบเครือขายการสื่อสารที่มีสถาปตยกรรมตางกันไดอกหลายแบบดวย

ไม่มีความคิดเห็น: